วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558
วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
บันทึกการเรียนครั้งที่ 14
เนื้อหาที่เรียน
บรรยากาศในห้องเรียน
มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ อากาศภายในห้องเรียนเย็นสบาย รู้สึกผ่อนคลาย
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ร้องเพลงเพราะ คำพูดจะสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมสั่งสอนนักศึกษาในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษาสนุกและเพลิดเพลินไปกับการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
เนื้อหาที่เรียน
-อาจารย์ได้ให้ฟังเสียงจากเครื่องดนตรีที่หลากหลายชนิด
อาทิ การเป่า การตี การดีด ฯลฯ โดยให้ลองเดาว่าเสียงที่ได้ยินนั้นเป็นเสียงเครื่องดนตรีชนิดใดบ้าง
-กิจกรรมทดสอบความจำ
เพิ่มความสนุกสนานในการเรียน
โดยให้ทำท่าทางตามชื่อของตนเอง
ยกตัวอย่าง
(กัญญารัตน์) กัน-ยา-รัด
กัน = Gan กัน
แปลว่า ปืน ทำท่าทางยิงปืน
ยา = ทำท่าทางกำลังกินยา
รัด = ทำท่าทางกอดตัวเอง
เมื่อเราทำท่าทางเราแล้ว...ต้องทำท่าทางเพื่อนทางด้านขวามือต่อจากท่าเรา
-กิจกรรมทดทวนการร้องเพลง 5 เพลง
-ทดลองเขียนชื่อบนกระดานโดยให้แบ่งกลุ่มหรือจับคู่เพื่อให้ทดสอบเขียน
(หัวกลมตัวเหลี่ยม)
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ร้องเพลงเพราะ คำพูดจะสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมสั่งสอนนักศึกษาในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษาสนุกและเพลิดเพลินไปกับการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
เนื้อหาที่เรียน
- ทบทวนเพลงจำนวน 5 เพลง
- ทบทวนการสอนร้องเพลงสำหรับสอนหน้าชั้นเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
1. ชี้ชื่อเพลง อ่านแต่ชื่อเพลงแล้ววางไม้ชี้ลง
2. ร้องทีละวรรคของเพลง
3. ร้องพร้อมกัน
4. ทำท่าทางประกอบเพลง
5. ร้องและทำท่าทางพร้อมกันระหว่างเด็กและครูผู้สอน
- อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกไปสาธิตวิธีการสอนร้องเพลงพร้อมท่าทางประกอบเพลง
- กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้แบ่งกลุ่มโดยใช้เทคนิกการนับ
1-2-3-4 แบ่งตามหมายเลขที่นับ
โดยกิจกรรมนี้จะให้ทดสอบความจำ
จะให้ประโยคง่ายๆเพื่อให้จำ
เป็นกิจกรรมร่วมกันเพื่อเกิดความตื่นตัวและไม่ง่วงนอนในช่วงเวลาเรียนในตอนเช้า
- กิจกรรมนี้อาจารย์ได้ให้ดูวิธีการสอน Project
Approach ของโรงเรียนเกษมพิทยา
บรรยากาศในห้องเรียน
มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ อากาศภายในห้องเรียนเย็นสบาย รู้สึกผ่อนคลาย
มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ อากาศภายในห้องเรียนเย็นสบาย รู้สึกผ่อนคลาย
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน อาจจะไม่เข้าใจในเนื้อหาวิชาบางแต่ก็พยายามปรับตัวโดยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากที่อาจารย์สอนภายในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ร้องเพลงเพราะ คำพูดจะสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมสั่งสอนนักศึกษาในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษาสนุกและเพลิดเพลินไปกับการเรียนการสอน
วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558
บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
เนื้อหาที่เรียน
-อาจารย์ได้ทบทวนเทคนิคการสอนคำคล้องจอง
เทคนิคการอ่านคำคล้องจอง
1.ครูหรือผู้สอนจะต้องอ่านคำคล้องจอง
1 รอบ พร้อมกับชี้คำ
(พยายามอย่ามองเพียงแต่กระดาน ควรสนใจเด็กหรือมองสบตาเด็กด้วย)
2.อ่านตามครู ทีละวรรค หรือบรรทัด
3.อ่านพร้อมกันระหว่างครูผู้สอนกับเด็กนักเรียน
-อาจารย์ได้ให้ออกไปแสดงบทบาทสมมติของแต่ละกลุ่ม
โดยให้ตั้งคำถามในการสอนอย่างน้อย 3 คำถาม
กลุ่มที่ 1 คำคล้องจอง สวนสัตว์
กลุ่มที่ 2 คำคล้องจอง ผลไม้หรรษา
กลุ่มที่ 3 คำคล้องจอง ขนมอะไรเอย
กลุ่มที่ 4 คำคล้องจอง ผลไม้
(กลุ่มตัวเอง)
กลุ่มที่ 5 คำคล้องจอง อาหารไทย
*แต่ละกลุ่มก็ได้คำแนะนำเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้สอนเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
และในคาบเรียนครั้งหน้าให้แต่งเพลงเกี่ยวกับหน่วยที่ตนเองได้
การนำไปประยุกต์ใช้การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาเรียน และได้ศึกษาในวันนี้ทำให้ดิฉันนำความรู้
ความเข้าใจที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์มาก
และยังได้เพลงจากอาจารย์ผู้สอนเพื่อไปใช้อีก และเทคนิควิธีการสอนของอาจารย์เป็นที่น่าภูมิใจและเหมาะที่จะนำไปเป็นแบบอย่างในการใช้ชีวิตประจำวันได้อีก
บรรยากาศในห้องเรียน
มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ อากาศภายในห้องเรียนเย็นสบาย รู้สึกผ่อนคลาย
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน และร่วมกิจกรรมทุกครั้งในชั้นเรียน
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ร้องเพลงเพราะ คำพูดจะสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมสั่งสอนนักศึกษาในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษาสนุกและเพลิดเพลินไปกับการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
เนื้อหาที่เรียน
-ร้องเพลง “รำวงดอกมะลิ”
พร้อมกับทำตามคำสั่งของอาจารย์
โดยอาจารย์จะให้จับกลุ่มตามจำนวนคำสั่ง
-อาจารย์ได้แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน
พร้อมกับให้แต่ละกลุ่มนำเสนอเนื้อหา
เรื่องที่จะทำในแต่ละกลุ่ม
พร้อมกับทำฉลากและส่งตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกไปจับ ฉลาก เพื่อให้ได้ตามหัวข้อที่จับ
( กลุ่มตัวเอง นำเสนอ เรื่อง
ต้นไม้ แต่จับฉลากได้ เรื่อง ผลไม้ )
-เมื่อทุกกลุ่มได้เนื้อหาที่รับผิดชอบแล้ว อาจารย์ได้แจกอุปกรณ์ในการทำงานร่วมกัน งานครั้งนี้ คือ
1. ทำ My Mapping.
ตามเนื้อหาหรือหัวข้อเรื่องที่ได้
2. แต่งคำคล้องจอง เกี่ยวกับ
เนื้อหาหรือหัวข้อเรื่องที่ได้
ในคาบเรียนนี้อาจารย์ได้ให้ทำงานร่วมกันจำนวน 2 ชิ้น ตามที่กล่าวข้างต้น
โดยอาจารย์จะคอยชี้แนะวิธีการ พร้อมกับคำแนะนำในการทำงานครั้งนี้
-เมื่อทุกกลุ่มทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้น อาจารย์ได้สาธิตการสอน โดยการอ่านคำคล้องจอง
พร้อมกับบอกเทคนิคการอ่านคำคล้องจองให้แก่นักศึกษาเพื่อเป็นองค์ความรู้นำไปใช้ในอนาคต
เทคนิคการอ่านคำคล้องจอง
1.ครูหรือผู้สอนจะต้องอ่านคำคล้องจอง
1 รอบ พร้อมกับชี้คำ
(พยายามอย่ามองเพียงแต่กระดาน ควรสนใจเด็กหรือมองสบตาเด็กด้วย)
2.อ่านตามครู ทีละวรรค หรือบรรทัด
3.อ่านพร้อมกันระหว่างครูผู้สอนกับเด็กนักเรียน
การนำไปประยุกต์ใช้การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
จากการเรียนในคาบนี้ได้ความรู้เพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้สอน คือ เทคนิคการแบ่งกลุ่ม
โดยไม่ให้จับกลุ่มเฉพาะที่อยากจะอยู่หรือเฉพาะเพื่อนสนิท แต่อาจารย์ได้ใช้เทคนิคการร้องเพลงเข้ามาแบ่งกลุ่ม จับกลุ่มตามคำสั่ง ก็จะได้กลุ่มตามคำสั่งที่อาจารย์ได้จัด โดยแต่ละกลุ่มจะได้ทำงานร่วมกันกับคนอื่น เพื่อเกิดการเรียนรู้ที่แปลกใหม่ และความคิดเห็นที่แปลกใหม่ สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้กับเด็ก อีกทั้งเทคนิคการสอนอ่านคำคล้องจอง เพื่อในอนาคตจะได้นำไปใช้ในการเรียนการสอน
บรรยากาศในห้องเรียน
มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ อากาศภายในห้องเรียนเย็นสบาย รู้สึกผ่อนคลาย
ประเมินตนเอง
วันนี้เข้าเรียนสาย เนื่องจากเกิดอาการท้องเสียเลยทำให้เข้าเรียนสาย เมื่อถึงห้องเรียนก็เข้าร่วมกิจกรรมทุกอย่าง
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ร้องเพลงเพราะ คำพูดจะสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมสั่งสอนนักศึกษาในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษาสนุกและเพลิดเพลินไปกับการเรียนการสอน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)